วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

พระเนื้อผงพิมพ์ขุนแผนสร้างยุคแรกวัดระฆัง

พระเนื้อผงพิมพ์ขุนแผนสร้างยุคแรกวัดระฆัง
สื่งที่บ่งบอกว่าเป็นพระวัดระฆังจะมองดูตาธรรมดาหรือใช้กล้องส่องคือ
         1.การม้วนตัว
         2.มีรอยการยุบตัวของเนื้อพระทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
         3.มีร่องการหลุดของมวลสารต่างๆ
        4.มีรอยการแตกแยกตัว
        5. มีการงอกหรือดันของผงวิเศษ
        6. รอยสนิมต่างๆ
        7. มีอิฐแดงและจุดแดง
        8. มีพระธาตุ
       9. มีหลุมพระจันทร์และการหลุดต่างๆของมวลสารหรือสารต่างๆ


















วันศุกร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

พระสมเด็จจาก บันทึกย่อของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์

จากทุกตำราจะอ้างอิงแต่ตำราของตรี ยัมปวายได้รวบรวมประวัติสมเด็จโตและการสร้างพระสมเด็จขึ้น  และรวบรวมพระสมเด็จถ่ายรูปลงหนังสือนั้น จึงมีพระสมเด็จไม่มากพอ คือมีให้เห็นไม่กี่พิมพ์เท่านั้นเองชึ่งส่วนมากจะเป็นพิมพ์ยุคสุดท้ายของหลวงวิจารณ์เจียรนัย ที่แกะพิมพ์โดยหินลับมีดโกน เป็นพิมพ์ยอดนิยม ทำให้พิมพ์พระของสมเด็จโตชึ่งสร้างมากมายหลายพิมพ์กลายเป็นพระปลอมในสายตาเซียนพระในปัจจุบันทำให้ของดีกลายเป็นของปลอมไปซึ่งวัตถุประสงค์ของสมเด็จโตสร้างและแจกให้กับทุกชนชั้นและพระสมเด็จโตก็มีมากมายเพียงพอกับทุกคนที่รักและศรัทธาในสมเด็จโตขอเพียงคุณเป็นคนดีพระสมเด็จจะมาหาคุณเองไม่ว่าจะพิมพ์ไหนก็ตาม
หรือของสร้างลงกรุไว้ที่ไหนถ้าเป็นพระของสมเด็จโตก็มีพุทธคุณเหมือนกัน เราควรจะสึกษาตำราของ
หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ชึ่งได้บันทึกการสร้างพระสมเด็จไว้ให้เราได้ศึกษา

พระสมเด็จจาก บันทึกย่อของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์
พระสมเด็จวัดระฆัง  คือพระที่หลวงปู่โต หรือบรรดาสานุศิษย์ของพระคุณท่านสร้างขึ้นมาต่อหน้าท่านที่วัดระฆัง โดยอยู่ในการควบคุมของท่าน   ซึ่งทราบจากประวัติการบอกเล่าจากหลาย ๆ ที่ว่าแทบทุกวันจะมีการตำโขกมวลสารต่าง ๆ  และอัดเป็นองค์พระกันที่หน้ากุฏิของท่าน   เมื่อตากแห้งดีแล้วก็นำขึ้นไปเก็บไว้ที่หอสวดมนต์ของท่าน  ซึ่งท่านจะนั่งสวดมนต์ภาวนาปลุกเสกพระของท่านทุกวัน

แม่แบบหรือแม่พิมพ์พระก็มีมากมายหลายแบบ  มีทั้งที่ช่างจากวังหลวงบ้าง วังหน้าบ้าง วังหลังบ้าง ชาวบ้านผู้มีฝีมือในการแกะพิมพ์บ้าง  ลูกหลานของท่านบ้าง  ช่วยกันแกะแม่พิมพ์ถวาย  ถ้าเป็นชาวบ้านแม่พิมพ์ก็เป็นไม้ธรรมดา  ถ้าเป็นช่างหลวงแม่พิมพ์ก็เป็นไม้ที่แข็งแรงทนทาน หรือใช้หินอ่อนบ้าง หินลับมีดโกนหรือหินทรายบ้าง เครื่องแกะสลักก็มีมาตรฐาน ก็จะได้แม่พิมพ์ที่สวยงาม มาตรฐาน  

ดังนั้นพระสมเด็จวัดระฆังจึงมีมากมาย  ซึ่งจากการบันทึกย่อประวัติหลวงปู่โตและพระสมเด็จของท่านมีรายละเอียดไว้พอสมควรทีเดียว


บันทึกย่อของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์






 ประวัติของท่านเจ้าพระคุณสมเด็จโตมีคนบันทึกและแต่งไว้ 2-3 คน แต่มาเขียนเอาสมัยหลังก็มี สถานที่เกิด วันเดือนปีเกิด ไม่ตรงกันสักฉบับ ฉบับที่คนให้การเชื่อถือคือของพระยาทิพย์โกษา (สอน โลหนันท์) ซึ่ง วันเดือน ปี เกิด พอเข้ากับบันทึกที่หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ ซึ่งเคยรับใช้ใกล้ชิดสมเด็จโตแทบจะทุกวัน เพราะไปช่วยท่านทำพระสมเด็จนั่นเอง บันทึกย่อนี้มีใจความว่า 

พ่อโตบวชพระเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๐ เกิด ชาตะ ๒๓๓๐ บวชพระ ๖๕ พรรษา มรณะ ๒๔๑๕ บวชเณร ๘ พรรษา บวชตั้งแต่เป็นเณร พ.ศ.๒๓๔๒

ตัวอักษรดำใหญ่เป็นบันทึกเพิ่มเติมภายหลังว่า แต่ เป็นบันทึกของหลวงปู่คำ เขียนไว้ถี่ถ้วน เป็นที่เชื่อได้ เป็นประวัตอันแท้จริงของขรัวโตวัดระฆัง แล้วมาลอกต่อเมื่อปู่คำได้มรณภาพ ไปแล้ว ๔ ปี ในราว พ.ศ.๒๔๒๕ แล้วบันทึกนี้ตกอยู่ที่พระครูปลัดมิศร์ และนายพึ่ง ลูกนายเหลี่ยมบ้านช่างหล่อ ได้ไปขอปลัดมิศร์มาลอกเอาไว้ในราว ๒๔๓๙ แล้วนายจอม องค์ช่างหล่อ มาลอกครั้งสุดท้ายเมื่อ ๒๔๔๓ นายจอมเป็นหัวหน้ากองโรงกษาป ได้ลอกมาจากบ้านช่างหล่อ หลังวัดระฆัง เป็นหลานนายพึ่งปฏิมาปกร เคยเป็นเจ้ากรมกษาปหรือช่างสิบหมู่สมัยนั้น ต่อมา หลานนายจอมได้ลอกมาไว้เป็นครั้งสุดท้าย พระคุณท่านได้เป็นพระวิปัสสนาสูง จะหาพระองค์ใดมาเปรียบมิได้


อีกหน้าเป็นบันทึกของหลวงปู่คำต่ออีกว่า พิมพ์พระสมเด็จทรงนิยมที่ชาวบ้านทั่วไปรู้จัก 

  
พิมพ์ที่ ๑ ทรงพระประธาน มี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๒ ทรงชายจีวร มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๓ อกร่องหูยานฐานแซม มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๔ เกศบัวตูม มี ๔ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๕ ปรกโพธิ์มีพิมพ์ที่ไม่แตกมี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๖ ฐานคู่มีพิมพ์ที่ไม่แตก มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

  
พิมพ์ที่  ๗ เส้นด้าย มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๘ สังฆาฏิ มี ๗ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

  
พิมพ์ที่ ๙ หน้าโหนกอกครุฑ มี ๑๖ พิมพ์ ทั้งพิมพ์ใหญ่

  
พิมพ์ที่๑๐ พิมพ์ทรงเจดีย์ มี ๒ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์

 
เมื่อพระคุณท่านได้มรณภาพแล้ว รวมพิมพ์พระที่ไม่แตกชำรุดได้ ๑๖๔ พิมพ์ เป็นพิมพ์สมเด็จที่นิยมและไม่นิยม ๘๑ พิมพ์ นอกนั้นเป็นพิมพ์พระอย่างอื่นเสีย ๘๓ พิมพ์ แล้วที่แตกหัก ๘ ถาดทองเหลืองเต็ม ๆ และพิมพ์ไกเซอที่เสด็จยุโยป ๓๐๐ องค์ ๆ พิมพ์เป็นพระได้แจกให้พระเจ้าไกเซอ ต่อมาได้ทำพิมพ์เศียรบาตรขึ้นมาแทนพิมพ์ไกเซอ เพราะใครก็อยากได้พิมพ์ไกเซอ เลยเอาพิมพ์เศียรบาตรแทน ต่อมาคนได้เชื่อว่าพิมพ์นี้เป็นพิมพ์ไกเซอ แต่ความจริงไม่ใช่ พิมพ์ไกเซอองค์พระนั่งบนบัว.จบบันทึกของหลวงปู่คำเพียงเท่านี้
 
ทีนี้ เมื่อพิมพ์พระสมเด็จวัดระฆังที่ไม่แตกชำรุดมีถึง 164 พิมพ์เช่นนี้  ถ้ารวมทั้งที่แตกไปแล้วมันจะมีกี่ร้อยพิมพ์ก็ไม่รู้ได้    แต่เอาเฉพาะที่ยังไม่แตกไว้เป็นหลักฐานแค่นี้ก็มากพอแล้วที่จะแสดงให้เห็นว่าพระสมเด็จวัดระฆังนั้นมีมากมายเหลือเกิน  ที่ท่านเอาไปแจกตอนบิณฑบาตนั้นจะหลงเหลืออยู่บ้างหรือไม่  ซึ่งมันก็กระจัดกระจายไป  ในสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ผู้คนก็อาจไม่ได้ให้ความสำคัญจนรักษาไว้อย่างหวงแหน  เพราะมันไม่มีราคาค่างวดอันใดให้เหลือแล   ก็น่าจะสาบสูญไปกับการเวลา  ที่เหลือมากก็อยู่กับเจ้านายหรือขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่ให้ความเคารพนับถือท่านมาก ๆ  ก็จะเก็บพระของท่านแต่ละชุด ๆ ไว้มากพอทีเดียว  พระเหล่านี้ในภายหลังก็ถูกแจกจ่ายออกมาสู่บุคคลภายนอกบ้าง ในช่วงที่พระสมเด็จเริ่มหายากขึ้นแล้ว   


วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

พระเนื้อชิน

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน 
ชิน    น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยตะกั่วและดีบุก นิยมใช้ทําพระเครื่อง (โบ) ชิน หรือ ชินธาตุ หมายถึง ดีบุก. (ปรัดเล).ก. เคยมาแล้วบ่อย ๆ คุ้นหรือเจน.ก. บุอย่างบุทองแดง.[ชินะ ชินนะ] น. ผู้ชนะ พระพุทธเจ้า ใช้ประกอบกับคําอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์ หมายความว่า พระพุทธเจ้า. (ป. ส.).น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อมหาวีระ เชน หรือ ไชนะ ก็ว่า. (ส.).

เนื้อชินแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดคือ

1.ประเภทเนื้อชินตะกั่ว หมายถึง พระเนื้อชินทีมีส่วนผสมของแร่ตะกั่วมากกว่าแร่อย่างอื่นมีอายุมากๆ จะเกิดสนิมในรูปของอ๊อกไซด์ปกคลุมส่วนบนของพระ มีลักษณะเป็นคราบสนิมแดง ๆ พระบางองค์มีการประทุระเบิดของเนื้อจากภายในออกมาภายนอกในลักษณะธรรมชาติเรียกว่า “แตกรานแบบใยแมงมุม” ส่วนพระที่มีอายุน้อย จะมีจุดแดงเรื่อๆ จับอยู่บนผิวพระเป็นหย่อม ๆ หรือเป็นสนิมเกาะเพียงบาง ๆเราเรียกพระประเภทนี้ว่าพระเนื้อชินสนิมแดง
2.ประเภทพระเนื้อชินเงิน หมายถึงพระเนื้อชินที่มีเนื้อในมีสีขาวคล้ายสีเงินยวงซึ่งมีส่วนผสมของตะกั่วและดีบุกเป็นหลัก โดยจะมีดีบุกมากกว่าตะกั่วและผสมปรอท
3.ประเภทเนื้อชินเขียว หมายถึงพระเนื้อชินที่มีส่วนผสมระหว่างแร่ตะกั่วกับแร่สังกะสี

ขั้นตอนการดูพระเนื้อชินดังนี้

1.การดูลักษณะของธรรมชาติความเก่าดังนี้
1.1 ประเภทเนื้อชินตะกั่วสนิมแดงต้องมีหรือ
1.1.1 เกิดแตกรานแบบใยแมงมุมชึ่งของใหม่หรือพระปลอมยังทำไม่ได้
1.1.2 เกิดการเกิดสนิมไขขาวที่เกิดบนเนื้อตะกั่วและเกิดจะมีสีแดงแบบลูกหว่าจะต้องไม่แดงเท่ากันทั้งองค์ คือ มีสีแดง เข้มบ้างอ่อนบ้าง บางจุด ไม่ใช่แดงเป็นสีเดียวกันทั้งองค์ และจะต้องเกิด ไขขาวของใหม่หรือพระปลอมยังทำไม่ได้
1.2.ประเภทเนื้อชินเงินต้องมีหรือรอยลั่น หรือปริแยก หรือผุกร่อนในลักษณะของธรรมชาติที่เกิดจากด้านข้างในไปข้างนอกของใหม่หรือพระปลอมยังทำไม่ได้
1.3 ประเภทเนื้อชินเขียวต้องมี สนิมที่เรียกว่าสนิมไข่แมงดาและสนิมไขวัวของใหม่หรือพระปลอมยังทำไม่ได้





วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 6.การแยกตัวและบิแยกตัว

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 6.การแยกตัวและบิแยกตัว
มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 6.การแยกตัวและบิแยกตัว
6.การแยกตัวและบิแยกตัว คือจากประวัติการสร้างพระสมเด็จสมเด็จโตมีการใส่หรือผสมเนื้อพระหลายอย่างในเนื้อพระเมื่อพระมีอายุมากขึ้น100ปีย่อมมีการเปลี่ยนแปลงดินฟ้าอากาศเกิดการยุบตัวไม่เท่ากันในเนื้อพระพระมีมวลสารหรือสสารต่างกันในเนื้อตัวจะเกิดการแยกตัวและบิตัวจะเกิดขึ้นได้ทั้งด้านหน้าที่เส้นซุ้มและองค์พระด้านหลังและด้านข้างตัวตามมา
ส่วนพระเนื้อผงใหม่นั้นส่วนมากจะเป็นมวลสารหรือสสารจะเป็นผงหรือสสารที่ใกล้เคียงกันและทำขึ้นใหม่ส่วนมากไม่ถึง50ปี ทำให้การยุบตัวน้อยจะน้อยหรือไม่มีเลยการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหน้าที่เส้นซุ้มและองค์พระ และด้านหลัง และด้านข้าง
พระเนื้อผงปลอมและพระผงใหม่ยังการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหน้าที่เส้นซุ้มและองค์พระ และด้านหลัง และด้านข้างไม่ได้หรือทำไม่เหมือนครับ

     ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหน้า



         ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหน้า



          ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหน้า



           ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหน้า



          ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหลัง



          ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านหลัง



           ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านข้าง


         ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการแยกตัวและบิแยกตัวด้านข้าง




มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 5.การม้วนตัว

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 5.การม้วนตัวเส้นซุ้มและองค์พระ
มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 5.การม้วนตัวเส้นซุ้มและองค์พระเกิดหลังจากการยุบตัวแล้ว
5.การม้วนตัว คือจากประวัติการสร้างพระสมเด็จสมเด็จโตมีการใส่หรือผสมเนื้อพระหลายอย่างในเนื้อพระเมื่อพระมีอายุมากขึ้น100ปีย่อมมีการยุบตัวไม่เท่ากันในเนื้อพระพระมีมวลสารหรือสสารต่างกันในเนื้อตัวจะเกิดการม้วนตัวตามมาที่เส้นซุ้มและองค์พระ
ส่วนพระเนื้อผงใหม่นั้นส่วนมากจะเป็นมวลสารหรือสสารจะเป็นผงหรือสสารที่ใกล้เคียงกันและทำขึ้นใหม่ส่วนมากไม่ถึง50ปี ทำให้การม้วนจะน้อยหรือไม่มีเลยทั้งเส้นซุ้มและองค์พระส่วนพระเนื้อผงปลอมและพระผงใหม่ยังทำการม้วนตัวไม่ได้หรือทำไม่เหมือนครับ

                  ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการม้วนตัว


                                ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการม้วนตัว


                               ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการม้วนตัว


                                ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการม้วนตัว


                              ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการม้วนตัว



มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 4.การผุดตัวงอกตัวดันตัว

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 4.การผุดตัวงอกตัวดันตัว
มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 4.การผุดตัวงอกตัวดันตัว
4.การผุดตัวงอกตัวดันตัวมวลสารหรือการผุดตัวงอกตัวดันตัวของเกาะตัวผงในเนื้อพระผง คือจากประวัติการสร้างพระสมเด็จโตมีการใส่หรือผสมเนื้อพระหลายอย่างในเนื้อพระเมื่อพระมีอายุมากขึ้น100 ปี มีการเปลี่ยนสภาพดินฟ้าอากาศเกิดการผุดตัวงอกตัวดันตัวในเนื้อผงพระและพระมีมวลสารหรือสสารที่ไม่เหมือนกันก็การผุดตัวงอกตัวดันตัวในเนื้อตัวส่วนพระเนื้อผงใหม่นั้นส่วนมากจะเป็นมวลสารหรือสสารจะเป็นผงหรือสสารที่ใกล้เคียงกันและทำขึ้นใหม่ส่วนมากไม่ถึง50ปี ทำให้ไม่มีการผุดตัวงอกตัวดันตัวทั้งด้านหน้าด้านหลังด้าข้างและองค์พระหรือพระเนื้อผงปลอมยังทำการผุดตัวงอกตัวดันตัวไม่ได้หรือทำไม่เหมือนครับ
ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการผุดตัวงอกตัวดันตัวแบบต่างๆ


                          ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการผุดตัวงอกตัวดันตัว



                                     ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการผุดตัวงอกตัวดันตัว



                                      ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการผุดตัวงอกตัวดันตัว



                                         ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการผุดตัวงอกตัวดันตัว



                                         


                                         ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการผุดตัวงอกตัวดันตัว

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 3.การหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 3.การหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์
มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 3.การหลุดตัวมวลสารหลุมพระจันทร์
3.การหลุดตัวมวลสารหรือการหลุดตัวของเกาะตัวผงในเนื้อพระผงหรือหลุมพระจันทร์ คือจากประวัติการสร้างพระสมเด็จสมเด็จโตมีการใส่หรือผสมเนื้อพระหลายอย่างในเนื้อพระเมื่อพระมีอายุมากขึ้น100ปีย่อมมีการหลุดร่วงตัวกันในเนื้อพระและพระมีมวลสารหรือสสารที่ไม่เหมือนกันเหมือนกันก็จะหลุดตัวกันในเนื้อตัวส่วนพระเนื้อผงใหม่นั้นส่วนมากจะเป็นมวลสารหรือสสารจะเป็นผงหรือสสารที่ใกล้เคียงกันและทำขึ้นใหม่ส่วนมากไม่ถึง50ปี ทำให้ไม่มีการหลุดตัวกันหรือถ้ามีการหลุดตัวกันน้อยจะน้อยหรือไม่มีเลยทั้งด้านหน้าด้านหลังด้านข้างและองค์พระหรือพระเนื้อผงปลอมยังทำหลุมพระจันทร์ไม่ได้หรือทำไม่เหมือนครับ
ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์แบบต่างๆ
 

                ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์


              ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์


                ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์


               ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์


             ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์

                    ภาพข้างล่างตัวอย่างแสดงการการหลุดตัวมวลสารหรือหลุมพระจันทร์

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 2.การจับตัวมวลสารหรือการจับตัวของผง

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 2.การจับตัวมวลสารหรือการจับตัวของผง
2.การจับตัวมวลสารหรือการจับตัวของผง คือจากประวัติการสร้างพระสมเด็จสมเด็จโตมีการใส่หรือผสมเนื้อพระหลายอย่างในเนื้อพระเมื่อพระมีอายุมากขึ้น100ปีย่อมมีการจับตัวกันในเนื้อพระและพระมีมวลสารหรือสสารที่เหมือนกันก็จะจับตัวกันในเนื้อตัวส่วนพระเนื้อผงใหม่นั้นส่วนมากจะเป็นมวลสารหรือสสารจะเป็นผงหรือสสารที่ใกล้เคียงกันและทำขึ้นใหม่ส่วนมากไม่ถึง50ปี ทำให้ไม่มีการจับตัวกันหรือถ้ามีก็จะจับตัวกันน้อยจะน้อยหรือไม่มีเลยทั้งด้านหน้าด้านหลังด้านข้างและองค์พระ

                 รูปพระตัวอย่างแสดงการจับตัวด้านหลัง
                   
                                 รูปพระตัวอย่างแสดงการจับตัวด้านหน้า

                                     รูปพระตัวอย่างแสดงการจับตัวด้านข้าง

                    รูปพระตัวอย่างแสดงการจับตัวด้านหน้า



มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 1.การยุบตัว

มุมมองทางวิทยาศาสตร์พระสมเด็จ 1.การยุบตัว
1.การยุบตัว คือจากประวัติการสร้างพระสมเด็จสมเด็จโตมีการใส่หรือผสมเนื้อพระหลายอย่างในเนื้อพระเมื่อพระมีอายุมากขึ้น100ปีย่อมมีการยุบตัวไม่เท่ากันในเนื้อพระพระมีมวลสารหรือสสารต่างกันในเนื้อตัวส่วนพระเนื้อผงใหม่นั้นส่วนมากจะเป็นมวลสารหรือสสารจะเป็นผงหรือสสารที่ใกล้เคียงกันและทำขึ้นใหม่ส่วนมากไม่ถึง50ปี ทำให้การยุบตัวจะน้อยหรือไม่มีเลยทั้งด้านหน้าด้านหลังด้านข้างและองค์พระพระเนื้อผงปลอมและพระผงใหม่ยังทำการยุบตัวไม่ได้หรือทำไม่เหมือนครับ

                รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหน้า




                                 รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหน้า



                                 รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหน้า 



                                 รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหน้า



                                 รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหลัง



                                 รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหลัง
         


                                  รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านหลัง



รูปพระตัวอย่างแสดงการยุบตัวด้านข้าง



พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่เนื้อโกเด

พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่เนื้อโกเด
พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่เนื้อโกเดยุคปลาย
สื่งที่บ่งบอกว่าเป็นพระสมเด็จวัดระฆัง
เนื้อโกเดจะมองดูตาธรรมดาหรือใช้กล้องส่องคือ
         1.การม้วนตัว
         2.มีรอยการยุบตัวของเนื้อพระทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
        3.มีร่องการหลุดของมวลสารต่างๆ
        4.มีรอยการแตกแยกตัว
        5. มีการงอกหรือดันของผงวิเศษ
        6. รอยสนิมต่างๆ
        7. มีอิฐแดงและจุดแดง
        8. มีพระธาตุ
        9. รอยตัดด้านข้าง
       10. มีหลุมพระจันทร์

สนใจติดต่อ 0803046093,0855544786

phanloet18253@gmail.com